ขั้นที่ 6 ป้องกัน

1. ปะทะด้วยแขน

ปะทะด้วยแขน (ป้องกันโดยแขน)

ปะทะด้วยแขน (ป้องกันโดยแขน) คือการใช้หมัดปิดป้องอวัยวะที่เป็นจุดอ่อนของร่างกายปะทะเข้ากับหมัดคู่ชก เมื่อปิดป้องแล้วจะต้องอยู่ในท่าที่สามารถตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทันที

2. ผงะ

ผงะ (ถอยหลัง/หลบ) 

หมายถึงการเอนตัวออกให้พ้นระยะไม้มวยของคู่ต่อสู้ไม่ให้มาปะทะตัวเรา โดยไม่ต้องกระโดดถอยหลัง หรือฉากหลบ เช่น เมื่อคู่ต่อสู้เตะตัดบนเป้าหมายลำตัวของเรา
ให้รีบโก่งตัวไปทางด้านหลังให้เท้าคู่ต่อสู้ผ่านลำตัวไป การโยกตัวหรือเอนตัวลักษณะนี้ไม่นิยมออกห่างคู่ต่อสู้จนเกินไป เพราะถ้าอยู่ห่างไปจะทำให้ไม่สามารถตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทัน

3. ถอยสุดระยะ

ถอยสุดระยะ (ถอยมาข้างหลัง) 

การถอยให้พ้นระยะ หมายถึงการถอยให้ห่างคู่ต่อสู้ อาจจะกระโดดเลื่อนเท้า ถอยหลัง หรือก้าวถอยหลัง แต่ต้องให้พ้นระยะไม้มวยของคู่ต่อสู้
ดังนั้นการถอยนี้จึงหมายถึงการเคลื่อนที่ออกห่างคู่ต่อสู้ในจังหวะที่คู่ต่อสู้ใช้ไม้มวยจู่โจมมา เมื่อถอยพ้นระยะแล้วจะต้องอยู่ในท่าที่พร้อมจะตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทันที

4. ปัด

ปัด / (กวาดเพื่อป้องกัน) 

การปัดให้ไม้มวยของคู่ต่อสู้เบี่ยงเบนออกไป หมายถึงการใช้ข้อมือ หรือแขนปัดไม้มวยของคู่ต่อสู้ ให้เบี่ยงเบนไปยังเป้าหมายอื่น หรือทำให้คู่ต่อสู้เสียหลัก เสียการทรงตัว เป็นการเปิดโอกาศให้เราใช้ไม้มวยตอบโต้ได้ ไม่ว่าจะเป็นไม้หมัด
ไม้เตะ ไม้ถีบ ไม้เข่า และไม้ศอก เราสามารถปัดให้เบี่ยงเบนและเสียหลักได้ทั้งนั้น แต่ถ้าให้ไม้รับนี้ได้ผลมักจะใช้กับไม้มวยที่พุ่งมาในทิศทางตรง เช่น หมัดตรง ถีบตรง เข่าตรง เป็นต้น

5. ฉากหลบ

ฉากหลบ / (เคลื่อนที่หลบ) 

หมายถึง การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพื่อหลบหลีกไม้มวยไทยของคู่ต่อสู้ที่จู่โจมมาให้พ้นไม่ให้ปะทะกับไม้มวยของคู่ต่อสู้ และเมื่อหลบหลีกแล้วจะต้องอยู่ในท่าที่พร้อมจะใช้ไม้มวยตอบโต้ได้ทันที

6. ถอยสุดระยะเตะ

ถอยสุดระยะเตะ (ป้องกันการเตะโดยการถอยหลัง) 

การถอยให้พ้นระยะ หมายถึงการถอยให้ห่างคู่ต่อสู้ อาจจะกระโดดเลื่อนเท้า ถอยหลัง หรือก้าวถอยหลัง แต่ต้องให้พ้นระยะไม้มวยของคู่ต่อสู้
ดังนั้นการถอยนี้จึงหมายถึงการเคลื่อนที่ออกห่างคู่ต่อสู้ในจังหวะที่คู่ต่อสู้ใช้ไม้มวยจู่โจมมา เมื่อถอยพ้นระยะแล้วจะต้องอยู่ในท่าที่พร้อมจะตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทันที

7. ถอยสุดระยะถีบ

ถอยสุดระยะถีบ (หลบการถีบโดยการถอยไปข้างหลัง)

การจับทำให้ล้ม ในมวยไทยมีหลายแบบ แต่ที่ถูกต้องตามกติกาะต้องไม่ขัดขา ซึ่งอาจจะใช้วิธีการบังเกาะจับ แล้วจึงผลักให้ล้ม หรือการกอดรัดแล้วเหวี่ยงให้ล้ม หรือการกอดรัดอุ้มหน้าอก อุ้มเอว แล้วเหวี่ยงให้ล้ม
อย่างไรก็ตามการทำให้ล้มต้องอาศัยศิลปะการใช้แรงเหวี่ยง เพราะการล้มบางครั้ง ไม่ต้องใช้แรงมากนัก ก็สามารถทำให้คู่ต่อสู้ล้มได้

8. จับกันเตะ

จับกันเตะ (ป้องกันการเตะโดยการจับ) 

การปัดให้ไม้มวยของคู่ต่อสู้เบี่ยงเบนออกไป หมายถึงการใช้ข้อมือ หรือแขนปัดไม้มวยของคู่ต่อสู้ ให้เบี่ยงเบนไปยังเป้าหมายอื่น หรือทำให้คู่ต่อสู้เสียหลัก เสียการทรงตัว เป็นการเปิดโอกาศให้เราใช้ไม้มวยตอบโต้ได้ ไม่ว่าจะเป็นไม้หมัด ไม้เตะ ไม้ถีบ ไม้เข่า และไม้ศอก
เราสามารถปัดให้เบี่ยงเบนและเสียหลักได้ทั้งนั้น แต่ถ้าให้ไม้รับนี้ได้ผลมักจะใช้กับไม้มวยที่พุ่งมาในทิศทางตรง เช่น หมัดตรง ถีบตรง เข่าตรง เป็นต้น

9. ปัดถีบ

ปัดถีบ (ป้องกันการถีบโดยการปัด) 

การปัดให้ไม้มวยของคู่ต่อสู้เบี่ยงเบนออกไป หมายถึงการใช้ข้อมือ หรือแขนปัดไม้มวยของคู่ต่อสู้ ให้เบี่ยงเบนไปยังเป้าหมายอื่น หรือทำให้คู่ต่อสู้เสียหลัก เสียการทรงตัว เป็นการเปิดโอกาศให้เราใช้ไม้มวยตอบโต้ได้
ไม่ว่าจะเป็นไม้หมัด ไม้เตะ ไม้ถีบ ไม้เข่า และไม้ศอก เราสามารถปัดให้เบี่ยงเบนและเสียหลักได้ทั้งนั้น แต่ถ้าให้ไม้รับนี้ได้ผลมักจะใช้กับไม้มวยที่พุ่งมาในทิศทางตรง เช่น หมัดตรง ถีบตรง เข่าตรง เป็นต้น

10. ปัดเตะ

ปัดเตะ (ป้องกันการเตะโดยการปัด) 

การปัดให้ไม้มวยของคู่ต่อสู้เบี่ยงเบนออกไป หมายถึงการใช้ข้อมือ หรือแขนปัดไม้มวยของคู่ต่อสู้ ให้เบี่ยงเบนไปยังเป้าหมายอื่น หรือทำให้คู่ต่อสู้เสียหลัก เสียการทรงตัว เป็นการเปิดโอกาศให้เราใช้ไม้มวยตอบโต้ได้ ไม่ว่าจะเป็นไม้หมัด ไม้เตะ ไม้ถีบ ไม้เข่า และไม้ศอก
เราสามารถปัดให้เบี่ยงเบนและเสียหลักได้ทั้งนั้น แต่ถ้าให้ไม้รับนี้ได้ผลมักจะใช้กับไม้มวยที่พุ่งมาในทิศทางตรง เช่น หมัดตรง ถีบตรง เข่าตรง เป็นต้น

11. ชิงถีบกันเตะ

ชิงถีบกันเตะ (ป้องกันการเตะโดยการถีบขัด ) 

การชิงทำหรือชิงตอบโต้ หมายถึงการใช้ไม้มวยตอบโต้คู่ต่อสู้ที่กำลังจะใช้ไม้รุกมายังเรา โดยให้ไม้มวยของเราออกไปถึงเป้าหมายก่อนที่ไม่รุกของคู่ต่อสู้จะถึงเรา และไม้มวยของเราจะต้องถูกที่สำคัญกว่า การที่เราชิงทำหรือชิงตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ จะต้องจับทาง หรืออ่านเชิงคู่ต่อสู้ออกว่าจะใช้ไม้รุกอย่างไร
รวมทั้งมีความรู้ความสามารถในการแก้ทางมวยได้เป็นอย่างดี เช่น การชิงชกนำด้วยหมัดตรงซ้ายก่อนขณะที่คู่ต่อสู้กำลังจะเตะตัดบนและเตะเฉียงขวา เป็นต้น ผู้ที่จะสามารถชิงทำหรือชิงตอบโต้ได้ดี จะต้องศึกษาเรื่องการแก้ทางมวยและฝึกฝนจนชำนาญ

12. ชิงถีบกันถีบ

ชิงถีบกันถีบ ( ป้องกันการถีบโดยการถีบขัด ) 

การชิงทำหรือชิงตอบโต้ หมายถึงการใช้ไม้มวยตอบโต้คู่ต่อสู้ที่กำลังจะใช้ไม้รุกมายังเรา โดยให้ไม้มวยของเราออกไปถึงเป้าหมายก่อนที่ไม่รุกของคู่ต่อสู้จะถึงเรา และไม้มวยของเราจะต้องถูกที่สำคัญกว่า การที่เราชิงทำหรือชิงตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ จะต้องจับทาง หรืออานเชิงคู่ต่อสู้ออกว่าจะใช้ไม้รุกอย่างไร
รวมทั้งมีความรู้ความสามารถในการแก้ทางมวยได้เป็นอย่างดี เช่น การชิงชกนำด้วยหมัดตรงซ้ายก่อนขณะที่คู่ต่อสู้กำลังจะเตะตัดบนและเตะเฉียงขวา เป็นต้น ผู้ที่จะสามารถชิงทำหรือชิงตอบโต้ได้ดี จะต้องศึกษาเรื่องการแก้ทางมวยและฝึกฝนจนชำนาญ

13. โยกหลบกันเตะ

โยกหลบกันเตะ (blocking kick by swaying)

การโยกตัวหรือเอนตัวให้พ้นระยะ บางท้องที่เรียกว่า “การดึงตัว” หมายถึงการโยกตัวหรือเอนตัวออกให้พ้นระยะไม้มวยของคู่ต่อสู้ไม่ให้มาปะทะตัวเรา โดยไม่ต้องกระโดดถอยหลัง หรือฉากหลบ
เช่น เมื่อคู่ต่อสู้เตะตัดบนเป้าหมายลำตัวของเรา ให้รีบโก่งตัวไปทางด้านหลังให้เท้าคู่ต่อสู้ผ่านลำตัวไป การโยกตัวหรือเอนตัวลักษณะนี้ไม่นิยมออกห่างคู่ต่อสู้จนเกินไป เพราะถ้าอยู่ห่างไปจะทำให้ไม่สามารถตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทัน

14. โยกหลบกันถีบ

โยกหลบกันถีบ (Blocking a push-kick by swaying)

การโยกตัวหรือเอนตัวให้พ้นระยะ บางท้องที่เรียกว่า “การดึงตัว” หมายถึงการโยกตัวหรือเอนตัวออกให้พ้นระยะไม้มวยของคู่ต่อสู้ไม่ให้มาปะทะตัวเรา โดยไม่ต้องกระโดดถอยหลัง หรือฉากหลบ
เช่น เมื่อคู่ต่อสู้เตะตัดบนเป้าหมายลำตัวของเรา ให้รีบโก่งตัวไปทางด้านหลังให้เท้าคู่ต่อสู้ผ่านลำตัวไป การโยกตัวหรือเอนตัวลักษณะนี้ไม่นิยมออกห่างคู่ต่อสู้จนเกินไป เพราะถ้าอยู่ห่างไปจะทำให้ไม่สามารถตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทัน

15. กันด้วยเข่า กันเตะ

กันเตะ (blocking a kick by kneeing)

หมายถึงการใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายที่แข็งแรงปิดป้องอวัยวะที่เป็นจุดอ่นของร่างกาย ส่วนมากการปิดป้องจะต้องปะทะกับไม้มวยของคู่ต่อสู้อย่างรุนแรง จึงต้องใช้ส่วนที่แข็งแรงกว่าส่วนที่เป็นไม้มวยของคู่ต่อสู่ที่จู่โจมมา
ดังเช่น การใช้เข่าปิดป้องท้อง รวมถึงบริเวณลำตัว การใช้ศอกและเข่าปิดป้องบริเวณหน้าอก แต่อย่างไรก็ดี เมื่อปิดป้องแล้วจะต้องอยู่ในท่าที่สามารถตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทันที

16. กันด้วยเข่า กันถีบ

กันด้วยเข่า กันถีบ (Blocking a push-kick by Kneeing)

การปิดป้องด้วยเข่า หมายถึงการใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายที่แข็งแรงปิดป้องอวัยวะที่เป็นจุดอ่นของร่างกาย ส่วนมากการปิดป้องจะต้องปะทะกับไม้มวยของคู่ต่อสู้อย่างรุนแรง จึงต้องใช้ส่วนที่แข็งแรงกว่าส่วนที่เป็นไม้มวยของคู่ต่อสู่ที่จู่โจมมา
ดังเช่น การใช้เข่าปิดป้องท้อง รวมถึงบริเวณลำตัว การใช้ศอกและเข่าปิดป้องบริเวณหน้าอก แต่อย่างไรก็ดี เมื่อปิดป้องแล้วจะต้องอยู่ในท่าที่สามารถตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทันที

17. จับทุ่ม เตะ

จับทุ่ม เตะ (Blocking a kick by throwing)

การทำให้ล้มในมวยไทยมีหลายแบบ แต่ที่ถูกต้องตามกติกาะต้องไม่ขัดขา ซึ่งอาจจะใช้วิธีการบังเกาะจับ แล้วจึงผลักให้ล้ม หรือเหวี่ยงให้ล้มอย่างไรก็ตามการทำให้ล้มต้องอาศัยศิลปะการใช้แรงเหวี่ยง เพราะการล้มบางครั้ง ไม่ต้องใช้แรงมากนัก ก็สามารถทำให้คู่ต่อสู้ล้มได้

18. กันด้วยแขน

กันด้วยแขน (blocking with arms)

การปิดป้อง หมายถึงการแขนปิดป้องอวัยวะที่เป็นจุดอ่อนของร่างกาย การใช้ศอกปิดป้องบริเวณหน้าอก แต่อย่างไรก็ดีเมื่อปิดป้องแล้วจะต้องอยู่ในท่าที่สามารถตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทันที

19. จับทุ่ม

จับทุ่ม (Throwing over)

การทำให้ล้มในมวยไทยมีหลายแบบ แต่ที่ถูกต้องตามกติกาะต้องไม่ขัดขา ซึ่งอาจจะใช้วิธีการบังเกาะจับ แล้วจึงผลักให้ล้ม หรือเหวี่ยงให้ล้ม อย่างไรก็ตามการทำให้ล้มต้องอาศัยศิลปะการใช้แรงเหวี่ยง เพราะการล้มบางครั้ง ไม่ต้องใช้แรงมากนัก ก็สามารถทำให้คู่ต่อสู้ล้มได้

20. กันด้วยเข่า

กันด้วยเข่า (blocking with knee)

กันด้วยเข่า หมายถึงการเข่าปิดป้องอวัยวะที่เป็นจุดอ่อนของร่างกาย ส่วนมากการปิดป้องจะต้องปะทะกับไม้มวยของคู่ต่อสู้อย่างรุนแรง จึงต้องใช้ส่วนที่แข็งแรงกว่าส่วนที่เป็นไม้มวยของคู่ต่อสู่ที่จู่โจมมา
ใช้เข่าปิดป้องบริเวณหน้าอก ชายโครง แต่อย่างไรก็ดี เมื่อปิดป้องแล้วจะต้องอยู่ในท่าที่สามารถตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทันที

21. ผลักให้เสียหลัก

ผลักให้เสียหลัก (pushing away the opponent)

ใช้วิธีการบังเกาะจับ แล้วจึงผลักให้ล้ม ผลักที่ต้นแขนคู่ชกออกสุดแรง เมื่อปิดป้องแล้วจะต้องอยู่ในท่าที่สามารถตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทันที

23. โยกหลบ

โยกหลบ (Swaying)

การโยกตัวหรือเอนตัวให้พ้นระยะ บางท้องที่เรียกว่า “การดึงตัว” หมายถึงการโยกตัวหรือเอนตัวออกให้พ้นระยะไม้มวยของคู่ต่อสู้ไม่ให้มาปะทะตัวเรา
โดยไม่ต้องกระโดดถอยหลัง ไม่นิยมออกห่างคู่ต่อสู้จนเกินไป เพราะถ้าอยู่ห่างไปจะทำให้ไม่สามารถตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทัน

24. ถอยสุดระยะ

Thoy sud Ra Ya (Moving backward)

การถอยให้พ้นระยะ หมายถึงการถอยให้ห่างคู่ต่อสู้ อาจจะกระโดดเลื่อนเท้า ถอยหลัง หรือก้าวถอยหลัง แต่ต้องให้พ้นระยะไม้มวยของคู่ต่อสู้
ดังนั้นการถอยนี้จึงหมายถึงการเคลื่อนที่ออกห่างคู่ต่อสู้ในจังหวะที่คู่ต่อสู้ใช้ไม้มวยจู่โจมมา เมื่อถอยพ้นระยะแล้วจะต้องอยู่ในท่าที่พร้อมจะตอบโต้คู่ต่อสู้ได้ทันที

25. กอดประชิดตัว

Kod Phra Chid Tua (Clinching)

กอดประชิดตัว เป็นการปิดป้องแล้วตอบโต้ หมายถึงการใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายที่แข็งแรงปิดป้องเป้าหมายที่คู่ต่อสู้จะจู่โจม ซึ่งส่วนมากมักเป็นบริเวณที่เป็นจุดอ่อนของร่างกาย เช่น ปลายคาง ใบหน้า คอ หน้าอก ลำตัว ลิ้นปี่ เป็นต้น
การปิดป้องจะต้องปะทะกับไม้รุกที่คู่ต่อสู้จู่โจมมาอย่างรุนแรง แล้วจึงใช้ไม้มวยตอบโต้ เช่นการเข้ากอดประชิดแล้วตีเข่า