ขั้น 1 ไหว้ครู

ขั้น 1 ไหว้ครู

Movement to various directions(basic)

การเตรียมความพร้อมของร่างกายก่อนการออกกำลังกายทุกครั้งเป็นสิ่งสำคัญไม่ว่าจะเป็นกีฬาประเภทใด โดยเฉพาะมวยไทยการเตรียมร่างกายให้พร้อม เป็นเคล็ดลับสำคัญที่ทำให้นักมวยไทยกลายเป็นยอดนักมวยไทย ซึ่งผลของการปฏิบัติไม่ได้หวังเพียงแค่การอบอุ่นร่างกายเท่านั้น แต่เป็นการป้องกันร่างกายจากการบาดเจ็บอันเกิดจากการฝึกซ้อมหรือการชกมวยอีกด้วย เนื่องจากการฝึกมวยไทยต้องใช้ร่างกายทุกส่วน การเตรียมพร้อมร่างกายจึงต้องมีการเตรียมการเป็นพิเศษเพื่อให้ร่างกายสามารถตอบสนองต่อคำสั่งการออกอาวุธที่เราสั่งได้อย่างสมบูรณ์และไม่ก่อให้เกิดอาการบาดเจ็บ
ในส่วนของการจดมวยและการสืบย่าง กล่าวได้ว่า เป็นพื้นฐานสำคัญที่ผู้ศึกษามวยไทยที่หวังให้ได้ประสิทธิผลสูงสุดพึงใส่ใจ เพราะการจดมวยและการสืบย่างเกี่ยวข้องในทุกมิติของการต่อสู้ด้วยมวยไทย ไม่ว่าจะเป็นการเตรียมพร้อมต่อสู้ การโจมตี และการป้องกัน สุดท้ายคือ การไหว้ครูรำมวย ที่เรียกได้ว่าเป็นเอกลักษณ์สำคัญของมวยไทยเลยก็ว่าได้ ซึ่งประโยชน์และคุณค่าของการไหว้ครูรำมวยนั้นไม่ได้มีแค่เพื่อแสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณและความเคารพต่อครูมวยไทยที่ได้ถ่ายทอดศิลปะมวยไทยมาให้แก่เราเท่านั้น แต่ยังมีประโยชน์แฝงในเรื่องของการผ่อนคลาย ฝึกสมาธิ เรียกขวัญกำลังใจ อีกด้วย


1. ไหว้ครู ( all moves continuous )

ท่าเทพพนม

เป็นท่าเริ่มต้นของการร่ายรำไหว้ครู เพื่อตั้งจิตให้เป็นสมาธิมีความแน่วแน่ นั่งคุกเข่าตัวตรง ปลายเท้าขวาทับเท้าซ้าย ก้นทับบนส้นเท้าทั้งสองข้าง มือพนมเสมออก ก้มกราบสามครั้งเป็นการรำลึกถึงคุณครูบาอาจารย์ บิดามารดา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายให้คุ้มครองตนอย่าได้เพลี่ยงพล้ำแก่คู่ชก จากนั้นโน้มตัวเหยียดแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้าจนปลายนิ้วจรดพื้นหัวแม่มือทั้งสองไม่แยกจากกันแล้วเลื่อนมือทั้งสองกลับเข้ามาเหมือนกอบแม่พระธรณีขึ้นมาที่อกกลับมาเป็นท่าเทพพนมเหมือนเดิม
แล้วเลื่อนมือทั้งสองกลับเข้ามาเหมือนกอบแม่พระธรณีขึ้นมาที่อกกลับมาเป็นท่าเทพพนมเหมือนเดิม แล้วเข้าสู่ท่าถวายบังคมเหยียดแขนออกจนสุด ยกขึ้นไหว้จดที่หน้าผากเป็นท่าถวายบังคม งอศอกเงยหน้าขึ้นลักษณะหงายไปทางด้านหลังให้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองอยู่ระหว่างคิ้วนิ้วชี้ตรงขึ้นไป เอนตัวไปข้างหลังพองามแล้วลดมือลงพนมเสมอหน้าอกทำซ้ำอีกสองครั้ง

ท่าก้มกราบ

เป็นท่าเริ่มต้นของการร่ายรำไหว้ครู เพื่อตั้งจิตให้เป็นสมาธิมีความแน่วแน่ นั่งคุกเข่าตัวตรง ปลายเท้าขวาทับเท้าซ้าย ก้นทับบนส้นเท้าทั้งสองข้าง มือพนมเสมออก ก้มกราบสามครั้งเป็นการรำลึกถึงคุณครูบาอาจารย์ บิดามารดา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายให้คุ้มครองตนอย่าได้เพลี่ยงพล้ำแก่คู่ชก จากนั้นโน้มตัวเหยียดแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้าจนปลายนิ้วจรดพื้นหัวแม่มือทั้งสองไม่แยกจากกันแล้วเลื่อนมือทั้งสองกลับเข้ามาเหมือนกอบแม่พระธรณีขึ้นมาที่อกกลับมาเป็นท่าเทพพนมเหมือนเดิม
แล้วเลื่อนมือทั้งสองกลับเข้ามาเหมือนกอบแม่พระธรณีขึ้นมาที่อกกลับมาเป็นท่าเทพพนมเหมือนเดิม แล้วเข้าสู่ท่าถวายบังคมเหยียดแขนออกจนสุด ยกขึ้นไหว้จดที่หน้าผากเป็นท่าถวายบังคม งอศอกเงยหน้าขึ้นลักษณะหงายไปทางด้านหลังให้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองอยู่ระหว่างคิ้วนิ้วชี้ตรงขึ้นไป เอนตัวไปข้างหลังพองามแล้วลดมือลงพนมเสมอหน้าอกทำซ้ำอีกสองครั้ง

ท่าถวายบังคม

เป็นท่าเริ่มต้นของการร่ายรำไหว้ครู เพื่อตั้งจิตให้เป็นสมาธิมีความแน่วแน่ นั่งคุกเข่าตัวตรง ปลายเท้าขวาทับเท้าซ้าย ก้นทับบนส้นเท้าทั้งสองข้าง มือพนมเสมออก ก้มกราบสามครั้งเป็นการรำลึกถึงคุณครูบาอาจารย์ บิดามารดา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายให้คุ้มครองตนอย่าได้เพลี่ยงพล้ำแก่คู่ชก จากนั้นโน้มตัวเหยียดแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้าจนปลายนิ้วจรดพื้นหัวแม่มือทั้งสองไม่แยกจากกันแล้วเลื่อนมือทั้งสองกลับเข้ามาเหมือนกอบแม่พระธรณีขึ้นมาที่อกกลับมาเป็นท่าเทพพนมเหมือนเดิม
แล้วเลื่อนมือทั้งสองกลับเข้ามาเหมือนกอบแม่พระธรณีขึ้นมาที่อกกลับมาเป็นท่าเทพพนมเหมือนเดิม แล้วเข้าสู่ท่าถวายบังคมเหยียดแขนออกจนสุด ยกขึ้นไหว้จดที่หน้าผากเป็นท่าถวายบังคม งอศอกเงยหน้าขึ้นลักษณะหงายไปทางด้านหลังให้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองอยู่ระหว่างคิ้วนิ้วชี้ตรงขึ้นไป เอนตัวไปข้างหลังพองามแล้วลดมือลงพนมเสมอหน้าอกทำซ้ำอีกสองครั้ง

ท่าปฐม

เป็นท่าต่อเนื่องจากท่าถวายบังคม ให้ยกตัวขึ้นเก้าเท้าขวาออกไปข้างหน้า 1 ก้าว เข่าขวางอตั้งฉากกับพื้น โน้มตัวไปข้างหน้า ตามองตรง ขาซ้ายเหยียดตรงไปด้านหลังงอหลังเท้าเชิดขึ้น แขนขวาอยู่บนเท้าขวา แขนซ้ายกุมเสมออก กำหมัดทั้งสองข้าง จากนั้นเข้าสู่ท่าพรหม หมัดทั้งสองประสานกันระดับหน้าอกมองตรง แล้วโน้มตัวไปข้างหน้าควงหมัดสามรอบเสร็จแล้วถอยตัวกลับไปนั่งบนเท้าส้นซ้าย
เท้าขวาเหยียดเปิดปลายเท้าควงหมัดสามรอบทำสามครั้ง ลุกขึ้นย่างสามขุมกลับเข้ามุมของเรา จากนั้นหันมาทางมุมคู่ชกยกมือไหว้หนึ่งครั้งเป็นการสิ้นสุดท่ารำไหว้ครูแต่หากเราต้องการร่ายรำต่อก็สามารถใช้ไม้รำเพิ่มเติมต่างๆมาต่อท่าทั้งแบบนั่งหรือแบบยืนก็ได้ โดยเมื่อสิ้นสุดการร่ายรำเพิ่มเติมแล้วจึงทำการย่างสามขุมกลับเข้ามุมแล้วหันมาทิศทางมุมคู่ชกไหว้หนึ่งครั้งเป็นการเสร็จสิ้นการไหว้ครู

ท่าพรหม

เป็นท่าต่อเนื่องจากท่าถวายบังคม ให้ยกตัวขึ้นเก้าเท้าขวาออกไปข้างหน้า 1 ก้าว เข่าขวางอตั้งฉากกับพื้น โน้มตัวไปข้างหน้า ตามองตรง ขาซ้ายเหยียดตรงไปด้านหลังงอหลังเท้าเชิดขึ้น แขนขวาอยู่บนเท้าขวา แขนซ้ายกุมเสมออก กำหมัดทั้งสองข้าง จากนั้นเข้าสู่ท่าพรหม หมัดทั้งสองประสานกันระดับหน้าอกมองตรง แล้วโน้มตัวไปข้างหน้าควงหมัดสามรอบเสร็จแล้วถอยตัวกลับไปนั่งบนเท้าส้นซ้าย
เท้าขวาเหยียดเปิดปลายเท้าควงหมัดสามรอบทำสามครั้ง ลุกขึ้นย่างสามขุมกลับเข้ามุมของเรา จากนั้นหันมาทางมุมคู่ชกยกมือไหว้หนึ่งครั้งเป็นการสิ้นสุดท่ารำไหว้ครูแต่หากเราต้องการร่ายรำต่อก็สามารถใช้ไม้รำเพิ่มเติมต่างๆมาต่อท่าทั้งแบบนั่งหรือแบบยืนก็ได้ โดยเมื่อสิ้นสุดการร่ายรำเพิ่มเติมแล้วจึงทำการย่างสามขุมกลับเข้ามุมแล้วหันมาทิศทางมุมคู่ชกไหว้หนึ่งครั้งเป็นการเสร็จสิ้นการไหว้ครู

ท่าเทพนิมิตร

เป็นท่าเริ่มต้นของการร่ายรำท่ายืน หลังจากการไหว้ครูท่านั่งสิ้นสุดลงที่ท่าพรหมหากต้องการร่ายรำไหว้ครูด้วยท่ายืน ให้เราลุกขึ้นยืนตรงพนมมือเสมออกมือที่พนมตั้งฉากกับพื้นตั้งจิตมั่นเรียกท่าเทพนิมิตร แล้วจึงร่ายรำต่อด้วยท่าไหว้ครูแบบยืนเป็นลำดับถัดไป

ท่าคุมเชิงครู

เป็นท่าร่ายรำเพื่อให้นักมวยระลึกถึงการป้องกันตัวเสมอ ครูมวยโบราณได้กล่าวถึงการก้าวย่างที่รัดกุมไว้อย่างคล้องจองว่า ย่างสามขุม คุมเชิงครู ดูดัสกร ฟ้อนรำเชิงหลังจากการร่ายรำไหว้ครูท่านั่งแล้วลุกขึ้นยืนเป็นท่าเทพนิมิตร เริ่มการร่ายรำด้วยท่าย่างสามขุม เคลื่อนที่ไปรอบๆแล้วอาจจะเปลี่ยนเป็นท่าคุมเชิงครู เพื่อระลึกถึงการป้องกันตัวอยู่เสมอ หมัดทั้งสองกำและยกตั้งให้สูงย่างสามขุมเปลี่ยนทิศทาง สายตามองไปยังคู่ชกการร่ายรำท่า ดูดัสกร คือระหว่างการร่ายรำตาต้องจ้องมองอยู่ที่คู่ต่อสู้ตลอดเวลาที่ขึ้นชก
ย่างสามขุมเปลี่ยนทิศทาง เมื่อก้าวเท้าลง ใช้มือป้องหน้าผากส่ายศรีษะซ้ายขวาแต่สายตายังคงมองไปยังคู่ชกการร่ายรำท่าฟ้อนรำเชิง คือ การชกมวยไทยต้องมีการหยั่งเชิง หลอกล่อให้คู่ต่อสู้หลงทาง เมื่อมีจังหวะจึงเข้าทำ เป็นการสลับยกเท้าเบี่ยงซ้ายขวาไปมา โหย่งตัวอย่างมีเชิงหลังจากการร่ายรำเสร็จทำการย่างสามขุมกลับเข้ามุม หันมาทางมุมคู่ชกยกมือไหว้หนึ่งครั้งเป็นการจบการร่ายรำ

ท่าย่างสามขุม

เป็นท่าร่ายรำเพื่อให้นักมวยระลึกถึงการป้องกันตัวเสมอ ครูมวยโบราณได้กล่าวถึงการก้าวย่างที่รัดกุมไว้อย่างคล้องจองว่า ย่างสามขุม คุมเชิงครู ดูดัสกร ฟ้อนรำเชิงหลังจากการร่ายรำไหว้ครูท่านั่งแล้วลุกขึ้นยืนเป็นท่าเทพนิมิตร เริ่มการร่ายรำด้วยท่าย่างสามขุม เคลื่อนที่ไปรอบๆแล้วอาจจะเปลี่ยนเป็นท่าคุมเชิงครู เพื่อระลึกถึงการป้องกันตัวอยู่เสมอ หมัดทั้งสองกำและยกตั้งให้สูงย่างสามขุมเปลี่ยนทิศทาง สายตามองไปยังคู่ชกการร่ายรำท่า ดูดัสกร คือระหว่างการร่ายรำตาต้องจ้องมองอยู่ที่คู่ต่อสู้ตลอดเวลาที่ขึ้นชก
ย่างสามขุมเปลี่ยนทิศทาง เมื่อก้าวเท้าลง ใช้มือป้องหน้าผากส่ายศรีษะซ้ายขวาแต่สายตายังคงมองไปยังคู่ชกการร่ายรำท่าฟ้อนรำเชิง คือ การชกมวยไทยต้องมีการหยั่งเชิง หลอกล่อให้คู่ต่อสู้หลงทาง เมื่อมีจังหวะจึงเข้าทำ เป็นการสลับยกเท้าเบี่ยงซ้ายขวาไปมา โหย่งตัวอย่างมีเชิงหลังจากการร่ายรำเสร็จทำการย่างสามขุมกลับเข้ามุม หันมาทางมุมคู่ชกยกมือไหว้หนึ่งครั้งเป็นการจบการร่ายรำ





2. ท่าเทพพนม

เป็นท่าเริ่มต้นของการร่ายรำไหว้ครู เพื่อตั้งจิตให้เป็นสมาธิมีความแน่วแน่ นั่งคุกเข่าตัวตรง ปลายเท้าขวาทับเท้าซ้าย ก้นทับบนส้นเท้าทั้งสองข้าง มือพนมเสมออก ก้มกราบสามครั้งเป็นการรำลึกถึงคุณครูบาอาจารย์ บิดามารดา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายให้คุ้มครองตนอย่าได้เพลี่ยงพล้ำแก่คู่ชก จากนั้นโน้มตัวเหยียดแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้าจนปลายนิ้วจรดพื้นหัวแม่มือทั้งสองไม่แยกจากกันแล้ว

เลื่อนมือทั้งสองกลับเข้ามาเหมือนกอบแม่พระธรณีขึ้นมาที่อกกลับมาเป็นท่าเทพพนมเหมือนเดิมแล้วเลื่อนมือทั้งสองกลับเข้ามาเหมือนกอบแม่พระธรณีขึ้นมาที่อกกลับมาเป็นท่าเทพพนมเหมือนเดิม แล้วเข้าสู่ท่าถวายบังคมเหยียดแขนออกจนสุด ยกขึ้นไหว้จดที่หน้าผากเป็นท่าถวายบังคม งอศอกเงยหน้าขึ้นลักษณะหงายไปทางด้านหลังให้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองอยู่ระหว่างคิ้วนิ้วชี้ตรงขึ้นไป เอนตัวไปข้างหลังพองามแล้วลดมือลงพนมเสมอหน้าอกทำซ้ำอีกสองครั้ง


3. ท่าก้มกราบ

เป็นท่าเริ่มต้นของการร่ายรำไหว้ครู เพื่อตั้งจิตให้เป็นสมาธิมีความแน่วแน่ นั่งคุกเข่าตัวตรง ปลายเท้าขวาทับเท้าซ้าย ก้นทับบนส้นเท้าทั้งสองข้าง มือพนมเสมออก ก้มกราบสามครั้งเป็นการรำลึกถึงคุณครูบาอาจารย์ บิดามารดา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายให้คุ้มครองตนอย่าได้เพลี่ยงพล้ำแก่คู่ชก จากนั้นโน้มตัวเหยียดแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้าจนปลายนิ้วจรดพื้นหัวแม่มือทั้งสองไม่แยกจากกันแล้ว

เลื่อนมือทั้งสองกลับเข้ามาเหมือนกอบแม่พระธรณีขึ้นมาที่อกกลับมาเป็นท่าเทพพนมเหมือนเดิมแล้วเลื่อนมือทั้งสองกลับเข้ามาเหมือนกอบแม่พระธรณีขึ้นมาที่อกกลับมาเป็นท่าเทพพนมเหมือนเดิม แล้วเข้าสู่ท่าถวายบังคมเหยียดแขนออกจนสุด ยกขึ้นไหว้จดที่หน้าผากเป็นท่าถวายบังคม งอศอกเงยหน้าขึ้นลักษณะหงายไปทางด้านหลังให้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองอยู่ระหว่างคิ้วนิ้วชี้ตรงขึ้นไป เอนตัวไปข้างหลังพองามแล้วลดมือลงพนมเสมอหน้าอกทำซ้ำอีกสองครั้


4. ท่าถวายบังคม

เป็นท่าเริ่มต้นของการร่ายรำไหว้ครู เพื่อตั้งจิตให้เป็นสมาธิมีความแน่วแน่ นั่งคุกเข่าตัวตรง ปลายเท้าขวาทับเท้าซ้าย ก้นทับบนส้นเท้าทั้งสองข้าง มือพนมเสมออก ก้มกราบสามครั้งเป็นการรำลึกถึงคุณครูบาอาจารย์ บิดามารดา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายให้คุ้มครองตนอย่าได้เพลี่ยงพล้ำแก่คู่ชก จากนั้นโน้มตัวเหยียดแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้าจนปลายนิ้วจรดพื้นหัวแม่มือทั้งสองไม่แยกจากกันแล้ว

เลื่อนมือทั้งสองกลับเข้ามาเหมือนกอบแม่พระธรณีขึ้นมาที่อกกลับมาเป็นท่าเทพพนมเหมือนเดิมแล้วเลื่อนมือทั้งสองกลับเข้ามาเหมือนกอบแม่พระธรณีขึ้นมาที่อกกลับมาเป็นท่าเทพพนมเหมือนเดิม แล้วเข้าสู่ท่าถวายบังคมเหยียดแขนออกจนสุด ยกขึ้นไหว้จดที่หน้าผากเป็นท่าถวายบังคม งอศอกเงยหน้าขึ้นลักษณะหงายไปทางด้านหลังให้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองอยู่ระหว่างคิ้วนิ้วชี้ตรงขึ้นไป เอนตัวไปข้างหลังพองามแล้วลดมือลงพนมเสมอหน้าอกทำซ้ำอีกสองครั้ง


5. ท่าปฐม

เป็นท่าต่อเนื่องจากท่าถวายบังคม ให้ยกตัวขึ้นเก้าเท้าขวาออกไปข้างหน้า 1 ก้าว เข่าขวางอตั้งฉากกับพื้น โน้มตัวไปข้างหน้า ตามองตรง ขาซ้ายเหยียดตรงไปด้านหลังงอหลังเท้าเชิดขึ้น แขนขวาอยู่บนเท้าขวา แขนซ้ายกุมเสมออก กำหมัดทั้งสองข้าง จากนั้นเข้าสู่ท่าพรหม หมัดทั้งสองประสานกันระดับหน้าอกมองตรง แล้วโน้มตัวไปข้างหน้าควงหมัดสามรอบเสร็จแล้วถอยตัวกลับไปนั่งบนเท้าส้นซ้าย

เท้าขวาเหยียดเปิดปลายเท้าควงหมัดสามรอบทำสามครั้ง ลุกขึ้นย่างสามขุมกลับเข้ามุมของเรา จากนั้นหันมาทางมุมคู่ชกยกมือไหว้หนึ่งครั้งเป็นการสิ้นสุดท่ารำไหว้ครูแต่หากเราต้องการร่ายรำต่อก็สามารถใช้ไม้รำเพิ่มเติมต่างๆมาต่อท่าทั้งแบบนั่งหรือแบบยืนก็ได้ โดยเมื่อสิ้นสุดการร่ายรำเพิ่มเติมแล้วจึงทำการย่างสามขุมกลับเข้ามุมแล้วหันมาทิศทางมุมคู่ชกไหว้หนึ่งครั้งเป็นการเสร็จสิ้นการไหว้ครู


6. ท่าพรหม

เป็นท่าต่อเนื่องจากท่าถวายบังคม ให้ยกตัวขึ้นเก้าเท้าขวาออกไปข้างหน้า 1 ก้าว เข่าขวางอตั้งฉากกับพื้น โน้มตัวไปข้างหน้า ตามองตรง ขาซ้ายเหยียดตรงไปด้านหลังงอหลังเท้าเชิดขึ้น แขนขวาอยู่บนเท้าขวา แขนซ้ายกุมเสมออก กำหมัดทั้งสองข้าง จากนั้นเข้าสู่ท่าพรหม หมัดทั้งสองประสานกันระดับหน้าอกมองตรง แล้วโน้มตัวไปข้างหน้าควงหมัดสามรอบเสร็จแล้วถอยตัวกลับไปนั่งบนเท้าส้นซ้าย

เท้าขวาเหยียดเปิดปลายเท้าควงหมัดสามรอบทำสามครั้ง ลุกขึ้นย่างสามขุมกลับเข้ามุมของเรา จากนั้นหันมาทางมุมคู่ชกยกมือไหว้หนึ่งครั้งเป็นการสิ้นสุดท่ารำไหว้ครูแต่หากเราต้องการร่ายรำต่อก็สามารถใช้ไม้รำเพิ่มเติมต่างๆมาต่อท่าทั้งแบบนั่งหรือแบบยืนก็ได้ โดยเมื่อสิ้นสุดการร่ายรำเพิ่มเติมแล้วจึงทำการย่างสามขุมกลับเข้ามุมแล้วหันมาทิศทางมุมคู่ชกไหว้หนึ่งครั้งเป็นการเสร็จสิ้นการไหว้ครู


7. ท่าเทพนิมิตร

เป็นท่าเริ่มต้นของการร่ายรำท่ายืน หลังจากการไหว้ครูท่านั่งสิ้นสุดลงที่ท่าพรหมหากต้องการร่ายรำไหว้ครูด้วยท่ายืน ให้เราลุกขึ้นยืนตรงพนมมือเสมออกมือที่พนมตั้งฉากกับพื้นตั้งจิตมั่นเรียกท่าเทพนิมิตร แล้วจึงร่ายรำต่อด้วยท่าไหว้ครูแบบยืนเป็นลำดับถัดไป

8. ท่าคุมเชิงครู

เป็นท่าร่ายรำเพื่อให้นักมวยระลึกถึงการป้องกันตัวเสมอ ครูมวยโบราณได้กล่าวถึงการก้าวย่างที่รัดกุมไว้อย่างคล้องจองว่า ย่างสามขุม คุมเชิงครู ดูดัสกร ฟ้อนรำเชิงหลังจากการร่ายรำไหว้ครูท่านั่งแล้วลุกขึ้นยืนเป็นท่าเทพนิมิตร เริ่มการร่ายรำด้วยท่าย่างสามขุม เคลื่อนที่ไปรอบๆแล้วอาจจะเปลี่ยนเป็นท่าคุมเชิงครู เพื่อระลึกถึงการป้องกันตัวอยู่เสมอ หมัดทั้งสองกำและยกตั้งให้สูงย่างสามขุมเปลี่ยนทิศทาง สายตามองไปยังคู่ชกการร่ายรำท่า ดูดัสกร คือระหว่างการ

ร่ายรำตาต้องจ้องมองอยู่ที่คู่ต่อสู้ตลอดเวลาที่ขึ้นชกย่างสามขุมเปลี่ยนทิศทาง เมื่อก้าวเท้าลง ใช้มือป้องหน้าผากส่ายศรีษะซ้ายขวาแต่สายตายังคงมองไปยังคู่ชกการร่ายรำท่าฟ้อนรำเชิง คือ การชกมวยไทยต้องมีการหยั่งเชิง หลอกล่อให้คู่ต่อสู้หลงทาง เมื่อมีจังหวะจึงเข้าทำ เป็นการสลับยกเท้าเบี่ยงซ้ายขวาไปมา โหย่งตัวอย่างมีเชิงหลังจากการร่ายรำเสร็จทำการย่างสามขุมกลับเข้ามุม หันมาทางมุมคู่ชกยกมือไหว้หนึ่งครั้งเป็นการจบการร่ายรำ


9. ท่าย่างสามขุม

เป็นท่าร่ายรำเพื่อให้นักมวยระลึกถึงการป้องกันตัวเสมอ ครูมวยโบราณได้กล่าวถึงการก้าวย่างที่รัดกุมไว้อย่างคล้องจองว่า ย่างสามขุม คุมเชิงครู ดูดัสกร ฟ้อนรำเชิงหลังจากการร่ายรำไหว้ครูท่านั่งแล้วลุกขึ้นยืนเป็นท่าเทพนิมิตร เริ่มการร่ายรำด้วยท่าย่างสามขุม เคลื่อนที่ไปรอบๆแล้วอาจจะเปลี่ยนเป็นท่าคุมเชิงครู เพื่อระลึกถึงการป้องกันตัวอยู่เสมอ หมัดทั้งสองกำและยกตั้งให้สูงย่างสามขุมเปลี่ยนทิศทาง สายตามองไปยังคู่ชกการร่ายรำท่า

ดูดัสกร คือระหว่างการร่ายรำตาต้องจ้องมองอยู่ที่คู่ต่อสู้ตลอดเวลาที่ขึ้นชกย่างสามขุมเปลี่ยนทิศทาง เมื่อก้าวเท้าลง ใช้มือป้องหน้าผากส่ายศรีษะซ้ายขวาแต่สายตายังคงมองไปยังคู่ชกการร่ายรำท่าฟ้อนรำเชิง คือ การชกมวยไทยต้องมีการหยั่งเชิง หลอกล่อให้คู่ต่อสู้หลงทาง เมื่อมีจังหวะจึงเข้าทำ เป็นการสลับยกเท้าเบี่ยงซ้ายขวาไปมา โหย่งตัวอย่างมีเชิงหลังจากการร่ายรำเสร็จทำการย่างสามขุมกลับเข้ามุม หันมาทางมุมคู่ชกยกมือไหว้หนึ่งครั้งเป็นการจบการร่ายรำ